มะเร็งรังไข่รักษาได้ไหม

เนื้อร้ายในรังไข่เป็นหนึ่งในเนื้อร้ายที่พบได้ทั่วไปในเพศหญิงอัตราการเกิดโรครองลงมาจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งมดลูก ชนิดของเนื้อร้ายในรังไข่ที่พบทั่วไปคือมะเร็งเยื่อบุผิว (Epithelial cancer) รองลงมาคือเนื้อร้ายของเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งในนั้น เซลล์มะเร็งชนิดเยื่อบุผิว (Epithelial cancer) เป็นสาเหตุเกิดอัตราการเสียชีวิตอันดับหนึ่งในเนื้องอกต่างๆของสตรี และยังคุกคามชีวิตผู้หญิงอย่างรุนแรง ผู้ป่วยเวลาถูกวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งรังไข่แล้ว ส่วนมากจะมีความรู้สึกเหมือนถูกตัดสินรอความตาย รู้สึกว่าตัวเองจะอยู่ได้ไม่นานจนหมดหวัง แต่จากการพัฒนาของเทคนิคการรักษามะเร็ง มะเร็งรังไข่ไม่มีทางรักษานั้นยังจริงหรือไม่?

ตัวอย่างผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ระยะสุดท้ายของฟูด้ารอดชีวิติได้ 14 ปี

คุณ Shelly Mahara ผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ระยะสุดท้าย รอดชีวิตมาได้ถึง 14 ปี

มะเร็งรังไข่รักษาได้ไหม? ในปี 2005 คุณ Shelly Mahara ซึ่งมีชื่อภาษาจีนว่าหม่า เย่นลี่ วัย17ปี ไปตรวจที่โรงพยาบาล เนื่องจากมีอาการท้องโตมากขึ้นเรื่อๆ ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งรังไข่ ในขณะหมดหวัง เพื่อนแนะนำ หม่า เย่นลี่ได้เดินทางมารักษาที่โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าในสังกัดของมหาวิทยาลัยจี้หนาน ในความทรงจำของผ.อหนิวลี่จื้อตอนหม่า เย่นลี่เข้ามาโรงพยาบาลนั้นมีอาการท้องโตมากเหมือนคนตั้งท้องได้ 8 เดือน ผลตรวจแสดงว่ามีเนื้องอกขนาด 23 cm ที่รังไข้ข้างขวา กินพื้นที่อุ้งเชิงกราน60% ยืดติดกับลำไส้ กระเพาะปัสสาวะและมดลูก อาการน่าเป็นห่วงมาก

ทางโรงพยาบาลรีบจัดผู้เชี่ยวชาญหลายท่านร่วมปรึกษาด้วยทันทีตัดสินใจทำการรักษาด้วยคีโมเฉพาะจุด 2 ครั้งทำให้ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็กลงก่อน หลังจากนั้น ผ.อหนิวลี่จื่อ ศ.นพ.หู หยี่จื๋อ และหัวหน้าแพทย์ เหลียงปิงได้ใช้ความเย็นแช่แข็งก้อนมะเร็งเพื่อแยกก้อนมะเร็งออก แล้วทำการผ่าตัดก้อนมะเร็งออก การรักษาตามนี้หลีกเลี่ยงการเกิดสภาพเลือดไหลหลังการผ่าตัด หลังผ่าตัด คุณหม่าเย่นลี่ได้รับคีโมต่ออีก 4 คอส หลังจากนั้นได้ออกจากโรงพยาบาลด้วยร่างกายฟื้นฟูอย่างรวดเร็ว หลังจากร่างกายฟื้นฟู เรียบร้อยเธอได้เข้ามหาวิทยาลัยเรียนต่อ ตอนนี้เธอทำงานแลัวใช้ชีวิตอย่างมีความสุข คลิกเพื่ออ่านเรื่องราวของคุณ หม่า เย่นลี่ เพิ่มเติม

การรักษามะเร็ง 21 วิธี รักษาเฉพาะทางได้ครบด้าน

วิธีการรักษาทั่วไป

ผ่าตัด ฉายรังสี คีโม รักษาด้วยยามุ่งเป้า สลายด้วยคลื่นความถี่สูง สลายด้วยสารเคมี การใส่ขดลวดตาข่ายครอบรังสี การใช้ยาสมุนไพรจีน การใช้ยาสมุนไพรจีนสมัยใหม่ การฉีดแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ การใช้ยาระงับเส้นเลือดเกิดใหม่

วิธีการรักษาพิเศษ

การสลายด้วยมีดนาโน การสลายด้วยความเย็น การรักษาอุดเส้นเลือดและคีโมเฉพาะจุด การให้คีโมเฉพาะจุดแบบ hepasphere การรักษาด้วยแสงจำเพาะ การรักษาสร้างภูมิคุ้มกันแบบองค์รวม การสลายด้วยคลื่นไมโครเวฟ การรักษาด้วยความร้อนของคลื่นไมโครเวฟ การรักษาสร้างภูมิคุ้มกันด้วยโอโซน

พวกเขาได้รับชีวิตใหม่จากที่นี่

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญของเรา
  • ศ.นพ.หนิวลี่จื้อ
    • หัวหน้าแพทย์
    • รองผู้อำนวยการของโรงพยาบาล
    • ประธานโรงพยาบาลฟูด้า
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • ศ.นพ.เจิงจงยวน หัวหน้าแพทย์
    • หัวหน้าแพทย์
    • ศาสตราจารย์
    • ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับทุนพิเศษจากสภาแห่งรัฐ
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • รอง ศ.นพ.เผียวเชี่ยงฮ่าว
    • รองศาสตราจารย์
    • ผู้อำนวยการบำบัด
    • ผู้เชี่ยวชาญจบการรักษาแบบเปิดแผลเล็กจากญี่ปุ่น
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • นพ.หลิวซู่เผิง
    • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • นพ.หลงซินอัน
    • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • หัวหน้าเทคนิคการแพทย์ หลี่หลงหลง
    • หัวหน้าเทคนิคการแพทย์
    • แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค
    นัดหมาย
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
ผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด

ความไว้วางใจจากผู้ป่วยในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก

*ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาจาก :


ตั้งแต่สร้างโรงพยาบาลขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าในสังกัดมหาวิทยาลัยจี้หนานได้รักษาผู้ป่วยมากกว่า 100 ประเทศ ในนั้นมีผู้ป่วยจากตะวันออกเฉียงใต้จำนวนกว่า 10000 ราย ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากผู้ป่วยทั่วโลก

แนะนำฟูด้า

โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าในสังกัดของมหาวิทยาลัยจี้หนานเป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้านโรคมะเร็งระดับสูงสุดภายใต้การดูแลของกระทรวงสาธารณะสุขแห่งมณฑลกวางตุ้ง ทั้งยังเป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้านโรงมะเร็งแห่งแรกที่รับรองมาตรฐานJCIในมณฑลกวางตุ้ง ในปี 2010 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางแห่งชาติ และในปี 2011 ได้รับการประเมินให้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะด้านแห่งมณฑลกวางตุ้งโรงพยาบาลมะเร็งฟูด้าเป็นโรงพยาบาลแบบสากล รักษาผู้ป่วยมะเร็งจากกว่า 100 ประเทศด้วยแนวคิดต่อต้านมะเร็งพิเศษ(ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีและรอดชีวิตได้นาน)และวิธีการรักษาแบบแผลเล็กที่ทันสมัยกว่า 20 วิธี เช่นการรักษาด้วยมีดนาโน การรักษาด้วยความเย็น กรรักษาแบบคีโมเฉพาะจุด เป็นต้น


หากได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งตับอ่อน การเลือกวิธีการรักษาที่ได้ผลจะสำคัญมาก โดยเฉพาะมะเร็งระยะสุดท้ายที่ไม่เหมาะกับการผ่าตัด คีโมและฉายแสง การเลือกวิธีการรักษาที่ถูกต้องนั้นสามารถยืดชีวิตของผู้ป่วยและรักษาให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีและมีประสิทธิภาพ